การ บริหาร จัดการ ใน องค์กร

  1. J living ม ม ส
  2. Lio bliss เพชรเกษม สาย 4 full
  3. หิ้งหรือเชลฟ์แขวนผนัง เขามีวิธีแขวนหรือยึดเกาะกันประมาณกี่แบบ และอะไรบ้างคะ - Pantip
  4. Ais super combo lava iris 40 ส เป ค 4
  5. Pptv ถ่ายทอด สด ลิเวอร์พูล แมน ยู

การบริหารจัดการภายในองค์ก ร การบริหารหรือการจัดองค์กรเป็นกิจกรรมหรือลักษณะงานที่มีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป มาร่วมใจกัน ปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน ต้องมการปฏับัติภารกิจด้วยการวางแผนการจัดองค์กร การชี้นําและการ ควบคุมซึ่งเป็นภารกิจหรือหน้าที่ของการจัดการ โดยปกติแล้วการบริหารหรือการจัดการจะเป็นเรื่องของผู้บริหารที่ ต้องปฏิบัติมีสาระสําคัญดังนี้ 1. ความหมายของความแตกต่างของคําว่า "การบริหาร" กับ "การจัดการ" องค์กรต่างๆมักใช้สองคําคือ "การบริหาร" (Administration) กับคําว่า "การจัดการ" (Management) สลับกันไปมาทงนั้ ี้เนื่องจากทั้งสองคํานี้มีความหมายเหมือนกันจะใช้แทนกันใช้มีข้อแตกต่างกันเล็กน้อยตรงที่ ประการแรก การบริหารมักใช้วงการสาธารณะหรือราชการ ในขณะที่การจัดการใช้กันในวงการธุรกิจหรือหรือ เอกชนเป็นหลัก 2. ควายหมายของการจัดการ ศิริวรรณ เสรีรัตนและคณะ (2542:444) ให้ความหมายของการจัดการคือ กระบวนการนําทรัพยากร การบริหารมาใช้ให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามขั้นตอนการบริหาร คือ (1) การวางแผน (Planning) (2) การจัดการองค์กร (Organizing) (3) การชี้นํา (Leading) (4) การควบคุม (Controlling) 2. 1 INPUT คือ ทรัพยากรการบริหาร (Management resources) อันได้แก่ 4M's ประกอบด้วยคน (Man) เงิน (Money) วัตถุดิบ (Material) และวิธีการ/การจัดการ (Method/Management) ถูกนําเข้าสู่ระบบ เพื่อประมวลผลหรือแปรรูป ต่อมาเมื่อเศรษฐกิจของสังคมโลกพัฒนาและกาวหน ้ ้าไปพร้อมกับอุตสาหกรรมการ ผลิตและการบริหารที่เติบโตและพัฒนาขึ้นไปอย่างรวดเร็ว ทําให้ทรัพยากรเพียง 4 ประการไม่เพียงพอสําหรับ เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์กรจึงเพิ่มอีก 2M's เป็น 6M's ได้แก่ เครื่องจักรเครองกล ื่ (Machine) และ การตลาด (Market) 2.

1 การวางแผน (Planning) เป็นการกำหนดเป้าหมายในอนาคตของกิจการและกำหนดกิจกรรมที่จะต้องดำเนินงานเพื่อเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกิจการ 4. 2 การจัดองค์กร (Organizing) มีการจัดแบ่งอำนาจหน้าที่รับผิดชอบ และสายงานการบังคับบัญชาด้วยการแบ่งงาน กระจายอำนาจ และจัดงานให้กับแผนกหรือฝ่ายต่างๆที่เหมาะสมกับธุรกิจ 4. 3 การจัดพนักงานทำงาน (Staffing) มีการจัดหาบุคลากรเข้าทำงานด้วยการสรรหา คัดเลือก ฝึกอบรมและพัฒนาให้บุคลากรสามารถทำงานได้ตามแผนที่วางไว้ 4. 4 การอำนวยการหรือสั่งงาน (Directing) คือการสั่งงาน ชี้แนะ ติดตามผลดำเนินการให้เป็นตามแผนงาน 4. 5 การประสานงาน (Coordination) คือการบริหารงานให้ฝ่ายต่างๆประสานงานกันได้ทั้งภายในและภายนอกองค์กร เจ้าของกิจการขนาดกลางและขนาดย่อมที่ไม่มีการวางแผนงานและบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ ควรฝึกฝนใช้หลักบริหาร 4 M ที่กล่าวมาแล้วโดยเน้นการบริหารงานให้มากขึ้นด้วยการมอบหมายงานและกระจายอำนาจให้ลูกน้องหรือฝ่ายงานต่างๆนำไปทำงานของตนเองได้ตามแผนงานที่วางไว้ แต่อย่าลืมที่จะพัฒนาความรู้ความสามารถทั้งตัวผู้ประกอบการและผู้ใต้บังคับบัญชาเพื่อให้ธุรกิจเติบโตและยั่งยืนในอนาคตด้วย

สัน คอ หมู เบ ทา โก ร ราคา

5 การตัดสินใจ ระบบการตัดสินใจต้องกําหนดให้ชัดเจน การตัดสินใจมีอยู่สองระดับใหญ่ คือ ระดับนโยบายซึ่งจะมีความซับซ้อนและละเอียดอ่อน สอง ระดับปฏิบัติ 4. ตําแหน่ง คุณลักษณะ หน้าที่ บทบาท และทักษะของผู้บริหาร 4. 1 ตําแหน่งผู้บริหารมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันได้หลากหลาย อย่างไรก็ตามมีเกณฑ์ที่ใช้ยึดถือในการแบ่ง ระดับการบริหารจัดการ (Level of management) 4. 1 ผู้บริหารระดับต้น (First-Line managers) คือผู้บริหารทอยี่ ู่ใกล้ชิดกับผปฏู้ ิบัติงานโดยตรงมี หน้าที่ในการควบคุมดูแลใหผ้ ปฏูับัติงานปฏิบัติงานในแต่ละวันสําเร็จตรงตามมาตรฐานที่หน่วยงานกําหนด 4. 2 ผู้บริหารระดับกลาง (Middle Line managers) เป็นตําแหน่งที่อยู่กึ่งกลางระหว่างตําแหน่ง ผู้บริหารระดับต้นและผู้บริหารระดับสูงมีหน้าที่ในการประสานงาน 4. 3 ผู้บริหารระดับสูง (Top managers) คือ ตําแหน่งที่มีหน้าที่ในการกําหนดเป้าหมาย และนโยบาย ขององค์กรให้ระดับรองลงไปปฏิบัติตามทั้งนี้เพื่อผลสําเร็จขององค์กร 4. 2 หน้าที่ผู้บริหาร ระดับการบริหารจัดการทั้งสามระดับจะปฏิบัติหน้าที่ทางการจัดการได้ดังนี้ 4. 1 ผู้บริหารระดับสูง ทําหน้าที่ในการวางแผน การจัดองค์กรและการควบคุมมากกว่าผู้บริหาร ระดับต้น 4.

Monday, 25 October 2021